English
Directory |  Link to  | Site Map  
  Home About Us Administration Academic Foreign Affairs Research and Publication Students
 
หน้าแรก >> วิจัย >> วารสารอักษรศาสตร์
 

วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 44 ฉบับที่ 1


วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 44 ฉบับที่ 1
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. สตรีในวรรณกรรมอียิปต์ยุค ค.ศ.1914-1919 งานเขียนของนะญีบ มะห์ฟูซมานพ อาดัม

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2557


ปีที่ 43 ฉบับที่ 2
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. Political Myths and Musical Enigmas: a Distinctive View of Ireland during ‘The Troubles’ in Wintering OutMonthita Rojtinnakorn
2. สุนทราภรณ์กับการสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมบันเทิงแบบ “สากล” ให้กับสังคมไทยในพุทธทศวรรษที่ 2490จินต์จุฑา ลี้จินดา
3. แปล(ง) เรื่องให้เป็นเรื่อง: ภาษาศาสตร์ระบบ-หน้าที่กับความตลกในบทละครฝรั่งเศส เรื่อง เดอ กัว ซาฌี ติล (De quoi s’agit-il?) ของ ฌ็อง ตาร์ดิเยอร์ (Jean Tardieu)ปาลิตา จุนแสงจันทร์
4. การเปรียบเทียบคำศัพท์และเสียงในภาษาขึนและภาษาไทถิ่นภาษาอื่นๆ ที่พูดในจังหวัดน่านพิณรัตน์ อัครวัฒนากุล
5. อาหารและเครื่องดื่มเยอรมันทางตะวันตก: ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นอารตี แก้วสัมฤทธิ์


ปีที่ 43 ฉบับที่ 1
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. ทิศในวรรณคดีสันสกฤตและพุทธศาสนาณัชพล ศิริสวัสดิ์
2. ความสำคัญของร่างกายที่มีต่อระบบความคิดนันทนา วงษ์ไทย
3. การศึกษาเปรียบต่างการใช้คำปรากฏร่วมภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทยและเจ้าของภาษาโดยใช้คลังข้อมูลปรีมา มัลลิกะมาส, สมจิต จิระนันทิพร, รักสงบ วิจิตรโสภณ
4. พัฒนาการวรรณกรรมอาหรับมานพ อาดัม
5. How Thai Philosophy is Possible?Soraj Hongladarom
6. อาหารและเครื่องดื่มของเยอรมันทางตะวันตกเฉียงใต้: ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นวรรณา แสงอร่ามเรือง

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2556


ปีที่ 42 ฉบับที่ 2
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. “คติชนสร้างสรรค์”: บทปริทัศน์บริบททางสังคมและแนวคิดที่เกี่ยวข้องศิราพร ณ ถลาง
2. ทุนวัฒนธรรมกับวัตถุมงคลในปัจจุบันสุกัญญา สุจฉายา
3. เรื่องเล่าพื้นบ้านกับการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์และการท่องเที่ยวท้องถิ่นในภาคกลาง: มิติความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์โหยหาอดีตกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์อภิลักษณ์ เกษมผลกูล
4. ภาพลักษณ์ “หมู่บ้านวัฒนธรรมหนองขาว” จากวิธีคิดในการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวในงานประเพณีเทศน์มหาชาติปรมินท์ จารุวร
5. แม่น้ำโขงกับการเป็นเวทีของประเพณีประดิษฐ์ในอีสานปฐม หงษ์สุวรรณ
6. ความเชื่อเรื่องพระอุปคุตปราบมาร: การสืบทอดและการผลิตซ้ำในสังคมไทยปัจจุบันวัชราภรณ์ ดิษฐป้าน
7. นิทานในหนังสือนิทานแนว edutainment ภาษาไทย: การศึกษาพลวัตของนิทานในปริบทสังคมไทยร่วมสมัยศิริพร ภักดีผาสุข
8. บทปริทัศน์หนังสือ ปฐม หงษ์สุวรรณ. (2556). นานมาแล้ว:มีเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน ชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 415 หน้า. ISBN 978-974-03-3063-9สายป่าน ปุริวรรณชนะ


ปีที่ 42 ฉบับที่ 1
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. หลอกหลอนโดยฮอลลีวูด: ภาพยนตร์ฮ่องกงนัวร์ สยองขวัญ และ คนมหากาฬใหญ่ทะลุโลกจีนา มาร์เชตตี
2. The Trauma of Post-1998 Indonesian Horror FilmsThomas Barker
3. บ้านผีสิง: การหลอกหลอนกับความรุนแรงทางเพศใน เพรงสนธยาชุติมา ประกาศวุฒิสาร
4. เลือนราง พรางเผย หลอกหลอน: เรื่องเล่าบาดแผลของเหยื่อความรุนแรงในครอบครัวกรองกาญจน์ อัชฌายะสุนทร
5. Haunting Love: Queer Love and Globalization in Contemporary Thai NovelsPhongphan Pankhlam
6. Haunting Body, Hideous Beauty: Genre and Representation of Queer Gothic in Hor Taew Tak TrilogySaran Mahasupap
7. การตั้งคำถามเชิงวิพากษ์กับอัตลักษณ์เติร์กในเยอรมนีใน พระจันทร์กลืนดาว (Der Mond isst die Sterne auf) ของดีเลค ซาพท์จีโอกลู (DilekZaptcioglu)ศิริพร ศรีวรกานต์
8. บทปริทัศน์หนังสือ Bangkok Haunts: นวนิยายการเดินทางแนวอาชญากรรมและสืบสวนของ John Burdetteนพมาตร พวงสุวรรณ

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2555


ปีที่ 41 ฉบับที่ 2
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. บทนำ: ระลึก ๗๑ ปีแห่งสงครามมหาเอเชียบูรพาสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
2. สหรัฐกับญี่ปุ่นและกรณีเพิร์ลฮาร์เบอร์ ๗ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๑สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
3. อัลเบิร์ต สเปียร์: สถาปัตยกรรม ศิลปะ ปรัชญา และนาซี ในอาณาจักรไรช์ที่ 3สุวิมล รุ่งเจริญ
4. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอินเดียระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2สาวิตรี เจริญพงศ์
5. ผลกระทบจากการยึดครองของญี่ปุ่นต่อสังคมชวา : 1942 – 1945ดินาร์ บุญธรรม
6. ราชสีห์ผู้ติดบ่วง: อิหร่านกับมหาอำนาจตะวันตกในช่วงสงครามโลกจุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์
7. สถาบันจักรพรรดิญี่ปุ่น : ความสืบเนื่องและความเปลี่ยนแปลงสุรางค์ศรี ตันเสียงสม
8. บทปริทัศน์หนังสือ Mishra, Pankaj. (2012). From the Ruins of Empire: The Revolt against the West and the Remaking of Asia. London: Allen Lane.วาสนา วงศ์สุรวัฒน์


ปีที่ 41 ฉบับที่ 1
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. กรอบมาตรฐานภาษาญี่ปุ่น (Japanese Language Standard) ด้านการพูดและการฟังสำหรับผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเอกในสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกนกวรรณ เลาหบูรณะกิจ คะตะกิริ
2. นิราศสุพรรณ: ความสามารถและความคิดสร้างสรรค์ของสุนทรภู่ในการแต่งโคลงสี่สุภาพชลดา เรืองรักษ์ลิขิต
3. ปัจจัยทางภาษาและวัฒนธรรมที่กำหนดลักษณะการเรียนรู้ภาษาสเปนของผู้เรียนชาวไทยเพ็ญพิสาข์ ศรีวรนารถ
4. ระบบคำภาษาไทยในคลังคำในใจของผู้เรียนภาษาไทยเป็นภาษาที่ 2: ศึกษากรณีนักศึกษาลาวและนักศึกษาเกาหลีวิชาติ บูรณะประเสริฐสุข
5. ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้กาลอดีตสมบูรณ์รูปกริยาเดี่ยวและกาลอดีตไม่สมบูรณ์กับวลีเกี่ยวกับเวลาในผู้เรียนภาษาสเปนชาวไทยหนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์
6. Influence between Writing and Speech Production and Perception: Evidence from Thai Vocalic Grapheme Acquisition by French Learners of Thai L2Supawat Chomchan
7. The Critics and Art Criticism of Silpa Wattanatham Column in Siamrath Weekly Newspaper MagazineJanice M. Wongsurawat
8. บทปริทัศน์หนังสือ ปรัชญาทรรศน์: พุทธปรัชญาพีรจุฬา จุฬานนท์

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2554


ปีที่ 40 ฉบับที่ 2
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. Achievement, Failure and Resignation in David Lodge's Academic Novels from 2001-2008Rongrat Dusdeesurapot
2. Gabriel Garcia Marquez's One Hundred Years of Solitude: A Literary Theory of RelativityThomas Hoy
3. การแปลศัพท์สำนวนที่มีชื่อเฉพาะจากพระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิมเป็นภาษาไทยศุภกาญจน์ เอี่ยมหฤท และจิรันธรา ศรีอุทัย
4. Say What?: The Use of Voice in Teaching Creative WritingBenjamin H. Malcolm
5. Minstrel Poetics: In answer to the question, "Who is Mr Bulram?"Tony O'Neill
6. Constructivist Language Learning through Webquests in the EFL Context: An Exploratory StudyMalinee Prapinwong


ปีที่ 40 ฉบับที่ 1
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. พฤติกรรมค่าความถี่มูลฐานของสระในคำสองพยางค์ภาษามลายูถิ่นปัตตานีและภาษาอูรักลาโวยอ์ณัฐพล พึ่งน้อย
2. พฤติกรรมค่าความถี่มูลฐานของสระเสียงก้องธรรมดาและสระเสียงก้องต่ำทุ้มในภาษาญัฮกุร (ชาวบน) ในคำพูดของผู้พูดกลุ่มอายุมากและกลุ่มอายุน้อยฉัตรียา ชูรัตน์
3. Cao Lan tonesPhan Luong Hung
5. การกลายเป็นคำไวยากรณ์ไปสู่คำบ่งชี้ทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ของคำว่า เอา ในภาษาไทยจิรัชย์ หิรัญรัศ
6. ชื่อและนามสกุลกับการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายสรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ
7. รูปภาษาแทนสิ่งอ้างถึงในบทสนทนาของเด็กธีราภรณ์ รติธรรมกุล

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2553


ปีที่ 39 ฉบับที่ 2
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. บทพินิจ "อธรรม" ในเรื่องรามเกียรติ์ผ่านตัวละครทศกัณฐ์ธิติ แจ่มขจรเกียรติ
2. จิตวิญญาณและนิเวศวิถี: ความหลากหลายในตัวบทวรรณกรรมของเฮนรี เดวิด ธอโร แกรี สไนเดอร์ และบาร์บารา คิงโซลเวอร์ดารินทร์ ประดิษฐทัศนีย์
3. แฮนเซลกับเกรเทลในฐานะผู้อพยพ: ในดินแดนแห่งช๊อกโกแลตกับกล้วย, เด็กสองคนมาถึงดินแดนต่างชาติ ของคาริน กึนดิชศิริพร ศรีวรกานต์
4. วิถีเมืองและความเป็นปัจเจกในวรรณกรรมไทยร่วมสมัย: การศึกษาเปรียบเทียบ 29 กุมภาฯ และเด็กกำพร้าแห่งสรวงสวรรค์สุรเดช โชติอุดมพันธ์
5. มายาภาพแห่งความเป็นปัจเจก ใน นอร์วีเจียน วูดอัศวิน ลิ้มชัยเจริญ
6. กวียานุโลมสันสกฤต: กรณ๊ศึกษารามกฤษณวิโลมกาวยะนาวิน วรรณเวช
7. โลกกำกวมในอาชญนิยาย: การรื้อสร้างคู่ตรงข้ามในวรรณกรรมเชอร์ล็อก โฮล์มส์ทอแสง เชาว์ชุติ


ปีที่ 39 ฉบับที่ 1
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. "สยบหญิง" (The Subjection of Women): ขบถทางความคิดสังคมวิกตอเรียนเนื่องน้อย บุณยเนตร
2. การศึกษาแผนใหม่สำหรับสตรีในเยอรมนีตั้งแต่ทศวรรษ 1870-1960ภาวรรณ เรืองศิลป์
3. นักเขียนสตรีอเมริกันกับอุดมศึกษา: ผลงานของซิลเวีย แพล็ธและจอยซ์ แครอล โอตส์พจี ยุวชิต
4. การเข้าสู่ระบบอุดมศึกษาของสตรีอังกฤษคารินา โชติรวี
5. มรรคาแห่งปัญญา: สตรีจีนกับการเข้าสู่การศึกษาสมัยใหม่พัชนี ตั้งยืนยง
6. การศึกษาของสตรีญี่ปุ่น: ภายหลังการรับวัฒนธรรมจีนถึงต้นศตวรรษที่ 20ชมนาด ศีติสาร
7. กว่าจะถึงอุดมศึกษา: การศึกษาของสตรีไทยสมัยปฏิรูปสุวดี ธนประสิทธิ์พัฒนา

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2552


ปีที่ 38 ฉบับที่ 2
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. โหราศาสตร์ในมหาชาติไทลื้อวกุล มิตรพระพันธ์ และ อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล
2. ภาพลักษณ์ของสัตว์ในตำนานเทพญี่ปุ่นในวรรณกรรม โคะจิกิอรรถยา สุวรรณระดา
3. ใต้เงาพระศาสดา เรื่องเล่าของเจ้าชายสยาม นิยายวิพากษ์วิจารณ์ กระแสจักรวรรดินิยมของคาร์ล เดอริงอารตี แก้วสัมฤทธิ์
4. พระราชาในภาษิตเยอรมันชูศรี มีวงศ์อุโฆษ
5. History of Nan fu and Jingshan: Two Court Music Bureaus during the Qing Dynastyศศิพร เพชราภิรัชต์
6. An observation on languageshift, maintenance, and language use in Bangkok Chinatownชัญญพร ปริญญาวุฒิชัย


ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. จักกวาฬทีปนี : ลักษณะเด่น ภูมิปัญญา และคุณค่าอาจารย์แม่ชีวิมุตติยา (สุภาพรรณ ณ บางช้าง)
2. กรณีละครนอก...คอก : ข้อคิดจากโครงการวิจัย "เรื่องเก่าเล่าใหม่ 2 - มหัศจรรย์ผจญภัยเจ้าชายหอย"ดังกมล ณ ป้อมเพชร
3. การตีความนิทานด้วยจิตวิเคราะห์ : กรณีศึกษา หนูน้อยหมวกแดงของชาร์ลส์ แปร์โรต์พิริยะดิศ มานิตย์
4. จาก แจ็คผู้ฆ่ายักษ์ ถึง พระอภัยมณี และสังข์ทอง : การอ่านแนวหลังอาณานิคมสรัยยา สุไลมาน
5. การสร้างแผนที่ภูมิภาคทางภาษาถิ่นของประเทศไทย : กรณีศึกษาแนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นกลางศิริวิไล ธีระโรจนารัตน์ และม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์
6. บทปริทัศน์หนังสือ Tibetan Budhism & Modern Physicsโสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2551


ปีที่ 37 ฉบับที่ 2
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. กลวิธีการพรรณนาธรรมชาติและการเร้าอารมณ์สะเทือนใจ : ความงามเชิงวรรณศิลป์ในเรื่องแวร์เธ่อร์ระทม ของเกอเธ่ ฉบับแปลเป็นไทยถนอมนวล โอเจริญ
2. การศึกษาการสื่อมโนทัศน์กรรมวาจกจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดยการใช้คำกริยาบอกผล ในตัวบทประเภทเน้นการแสดงออก และตัวบทประเภทให้ข้อมูลอำนาจ สิริวรเกษม และ ปรีมา มัลลิกะมาส
3. “ภาษาเยอรมันทันใจ” การเรียนภาษาเยอรมันให้เร็วและมีประสิทธิภาพวรรณา แสงอร่ามเรือง
4. การศึกษากลวิธีการแปลคำหยาบ “FUCK” กรณีศึกษา : ชู้รักเลดิ้แชตเตอร์เลย์ (Lady Chatterley’s Love) และเทรนสปอตติง (Trainspotting)ชาลินี วิมลเกียรติขจร และคารินา โชติรวี
4. การศึกษากลวิธีการแปลคำหยาบ “FUCK” กรณีศึกษา : ชู้รักเลดิ้แชตเตอร์เลย์ (Lady Chatterley’s Love) และเทรนสปอตติง (Trainspotting)ชาลินี วิมลเกียรติขจร และคารินา โชติรวี
5. การเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย ประเด็นปัญหาบางประการที่ยังต้องการคำถามสุรีย์ ชุณหเรืองเดช และพัชนี ตั้งยืนยง
6. ปริทัศน์หนังสือ กรณี ๔ พฤษภา ๑๙๑๙ : ว่าด้วยการปฏิวัติอันขื่นขมวาสนา วงศ์สุรวัฒน์


ปีที่ 37 ฉบับที่ 1
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม จากหลอมรวมเป็นหนึ่ง สู่ผสมผสานพันทางชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์
2. พื้นที่กับการต่อรองอัตลักษณ์ทางเพศสันต์ สุวัจฉราภินันท์
3. พื้นที่เรือนไทยในนวนิยายเรื่อง แม่เบี้ยเสาวณิต จุลวงศ์
4. “Brokeback Mountain”: เมื่อพื้นที่เป็นผู้เขียนบทกฤษฎา ขำยัง
5. เขียนชีวิต ลิขิตตัวตน: เรื่องเล่าความเจ็บป่วยใน เอดส์ไดอารี่ชุติมา ประกาศวุฒิสาร
6. “ริมัก” ใน “อะปูริมัก”: อัตลักษณ์ทับซ้อนของโฆเซ มาเรีย อาร์เกดัสใน สายน้ำลึกภาสุรี ลือสกุล
7. ภาพลักษณ์พระพุทธเจ้าในฐานะมนุษย์ผู้อภิวัฒน์ใน The Light of Asiaวิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล
8. ภาพแทนสงครามในกวีนิพนธ์ฝรั่งเศส สมัยต่อต้านการยึดครองของนาซี (ค.ศ. 1940-1944)บัณฑูร ราชมณี
9. สถานภาพหญิงชายในครอบครัวจีน: มุมสะท้อนจากภาษิต สำนวน และคำพังเพยจีนสุรีย์ ชุณหเรืองเดช

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2550


ปีที่ 36 ฉบับพิเศษ
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. การเดินทางของปัญญาและจินตนาการใน กามนิต ของเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีปสุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา
2. พื้นที่กับการเดินทางข้ามวัฒนธรรมในวรรณกรรมสัจนิยมมหัศจรรย์สุรเดช โชติอุดมพันธ์
3. การเดินทางหลากทวีปกับพัฒนาการกวีนิพนธ์ของปาโบล เนรูดาภาสุรี บือสกุล
4. In Search of Lost Worlds: the Travels of Graham Greeneไซมอน เจพี. ไรท์
5. การแปลงโฉมระหว่างการเดินทางของนางเอกของเช็คสเปียร์พจี ยุวชิต
6. การเดินทางข้ามขอบเขต พรมแดน เพศสถานะ และห้วงเวลาในนวนิยาย เรื่อง Orlando ของ เวอร์จิเนีย วูลฟ์คารินา โชติรวี
7. พื้นที่ในความทรงจำกับการสร้างอัตลักษณ์พลัดถิ่นในวรรณกรรมสตรีร่วมสมัยชุติมา ประกาศวุฒิสาร
8. การเดินทางข้ามพรมแดน-จากวรรณกรรมสู่แผ่นฟิล์ม โธมัส มันน์ ความตายที่เวนิสพรสรรค์ วัฒนางกูร
9. การเรียนการสอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตวรรณา แสงอร่ามเรือง
10. หลากมิติของคำแสดงโภชนลักษณ์ในตำราอาหารไทย อังกฤษ ผรั่งเศสสุนันท์ อัญชลีนุกูล


ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. นโยบายการสอนภาษาต่างประเทศของไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบันเมธาวี ยุทธพงษ์ธาดา
2. การเรียนการสอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตวรรณา แสงอร่ามเรือง
3. พัฒนาการของการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยประพิณ มโนมัยวิบูลย์
4. การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทยวรวุฒิ จิราสมบัติ
5. หน่วยสร้าง es ในภาษาเยอรมัน: การเทียบเคียงในด้านหน้าที่ และความหมายในภาษาไทยธนรัตน์ เบญจวัฒนานันท์
6. (hao) ในภาษาจีนกลางแปลเป็นภาษาไทยอย่างไรดีศศรักษ์ เพชรเชิดชู
7. การสอนไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นชั้นกลางโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางกนกวรรณ เลาหบูรณะกิจ คะตะกิริ
8. Ladder of Knowledge: มาตรฐานและคุณภาพแบบเรียนวิชาภาษาอังกฤษในสมัยปฏิรูปการศึกษาสุนันท์ อัญชลีนุกูล


ปีที่ 36 ฉบับที่ 1
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. ตำนานพราหมณ์เมืองนครศรีธรรมราช: ภาพสะท้อนชีวิตและสังคมพราหมณ์ในสมัยอยุธยาพิพัฒน์ กระแจะจันทร์
2. "แขก" ในโคลงภาพคนต่างภาษาที่วัดโพธิ์: ภาพสะท้อนมุสลิมศึกษาในหมู่ปัญญาชนสยามสมัยต้นรัตนโกสินทร์จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์
3. ไทยมุสลิมเชื้อสายจามสรยุทธ ชื่นภักดี
4. วันวาร 3 สมัย ณ มัสยิดต้นสนภัทระ คาน
6. นวนิยายของนะญีบ มะห์ฟูซ: วิถีและอัตลักษณ์พื้นถิ่นในวรรณกรรมอาหรับสมัยใหม่นารีมา แสงวิมาน
7. เวิดส์เวิร์ทกับความฝันเรื่องอัศวินอาหรับ: อัตตาและ 'อาณาจักร'สงวนศรี ขันธวิเชียร
8. อิหร่านศึกษาในประเทศไทย: การสำรวจองค์ความรู้และการพัฒนางานวิจัยจุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2549


ปีที่ 35 ฉบับที่ 2
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. นิทานดาวินชี: อัจฉริยภาพด้านวรรณศิลป์ของเลโอนาร์โดชัตสุณี สินธุสิงห์
2. ประสานวรรณศิลป์และคีตศิลป์: เพลงเลียนแบบพื้นบ้าน - ตัวแทนจิตวิญญาณชาวบ้านเยอรมันพรสรรค์ วัฒนางกูร
3. บทบาทของการกินในเทพปกรณัมกรีก: ความสุขและรางวัล ฤาทุกข์ ภัยพิบัติและการลงโทษศุภกาญจน์ เอี่ยมหฤท
4. บทบาทของตำนานประวัติศาสตร์และเทพปกรณัมจีน ในนิยายเรื่อง ความฝันในหอแดงจินตนา ธันวานิวัฒน์
5. จินตนาการในวรรณกรรมนิทาน เรื่อง "ทะเกะโตริโมะโนะงะตะริ"อรรถยา สุวรรณระดา
6. "ไก่" ในวัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่นชมนาด ศีติสาร
7. แถน แมน: เทพเทวาหรือบรรพชนคนไทสุกัญญา สุจฉายา
8. ตำนานตัวอักษร: กลไกทางวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ที่ไม่มีตัวอักษรศิราพร ณ ถลาง
9. บทบาทของ "หมา" ในตำนานและพิธีกรรมของชาติพันธุ์ต่างๆ ในอุษาคเนย์ปฐม หงษ์สุวรรณ
10. ตำนานประจำถิ่นริมแม่น้ำและชายทะเลภาคกลาง: ความจริงสร้างตำนาน จินตนาการสร้างประวัติศาสตร์สายป่าย ปุริวรรณชนะ
11. ตำนานพระศรีอาริย์: การตอบสนองความปรารถอันเป็นอุดมคติแห่งโลกอนาคตอภิลักษณ์ เกษมผลกูล
12. มุมมองทางภาษาศาสตร์ของคำว่า "ฝัน"รุ่งภัทร เริงพิทยา


ปีที่ 35 ฉบับที่ 1
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. ประจักษ์พยานนิยายจากทุ่งสังหารกัมพูชา : ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและหน้าที่ของวรรณกรรมใกล้รุ่ง อามระดิษ
2. ตำรา ตำรับ ทัพพี : อิสตรีกับการสร้างประวัติศาสตร์ชุติมา ประกาศวุฒิสาร
3. ความเป็นจริงกับจินตนาการในนวนิยายของมาร์เกอริท ยูร์เซอนาร์ เรื่อง เมมัวร์ ดาเดรียง เรื่อง เลิฟร์ โอ นัวร์ และเรื่อง เอิง นอม ออบสกรูร์พวงคราม พันธ์บูรณะ
4. กวีนิพนธ์ระอาสงครามของฝรั่งเศส จากยุคกลางถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการพูนศรี เกตุจรูญ
5. สภาพสังคมภายหลังสงครามกลางเมืองสเปนที่สะท้อนผ่านนวนิยายเรื่อง Nadaเพ็ญพิสาข์ ศรีวรนารถ
6. วิตตอรินี กับ ซิซีลี ใน Conversazione in Siciliaวิลาสินีย์ แฝงยงค์
7. ดีหรือชั่ว : มุมมองจากภาษิตและสำนวนญี่ปุ่นชวาลิน เศวตนันทน์
8. หน้าที่ของฤดูกาลในวรรณกรรมเรื่อง เก็นจิโมะโนะงะตะริอรรถยา สุวรรณระดา

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2548


ปีที่ 34 ฉบับที่ 2
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. ศัตรูประชาชน ของเฮนริก อิบเสน : งานวิพากษ์ความหน้าไหว้หลังหลอกของสังคมนพมาส แววหงส์
2. เพิ่มพละกำลังให้ลิงกับยักษ์ : โครงการวิจัยศิลปการแสดงร่วมสมัย จากงานขนบนิยมระหว่างไทย-เขมรพรรัตน์ ดำรุง
3. สุนทรีย์มียี่ห้อ? : มองละครเวทีไทยร่วมสมัยในวัฒนธรรมบริโภคดังกมล ณ ป้อมเพชร
4. สัจนิยมมหัศจรรย์ในวรรณกรรมไทยกับวาทกรรมแห่งความเป็นอื่นสุรเดช โชติอุดมพันธ์
5. บทโขนสมัยรัตนโกสินทร์ : นาฏยกระบวนทัศน์จักรกฤษณ์ ดวงพัตรา
6. "ถ้าคุณพลอยยังอยู่" : ความยอกย้อนของมโนทัศน์สัมพันธบทสายวรุณ น้อยนิมิตร
7. หนังผีไทยกับภาพสะท้อนทางสังคมและสิ่งแวดล้อมชัชพล ทรงสุนทรวงศ์
8. Abstracts

วารสารอักษรศาสตร์ ปี 2547


ปีที่ 33 ฉบับที่ 2
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. รัฐสมัยใหม่-ชุมชน-โจร-การจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดม ไกรปกรณ์
2. การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลงนนทพร อยู่มั่งมี
3. โจรและอันธพาลในจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ 3 : อุดมคติผ่านปลายพู่กันสู่ภาพสะท้อนสังคมดินาร์ บุญธรรม
4. ขอทานในสังคมไทยธิบดี บัวคำศรี
5. มาเฟียสรรควัฒน์ ประดิษฐพงษ์
6. โจรกบฏตื่อหาย ใน เรื่องของเกี่ยว โดย เหงียนซูมนธิรา ราโท
7. 'Oihagi' โจรในวรรณคดีรวมนิทานพื้นบ้านสมัยเฮอัน: วิเคราะห์เปรียบเทียบโจรในราโชมอน กับโตนฮะคะมะดะเระลัดดา แก้วฤทธิเดช
8. ปาโบล เนรูดา และกวีนิพนธ์เพื่อสาธารณชนใน "โครงสดุดีสามัญ"ภาสุรี ลือสกุล
9. Blasco Iba?ez's Visit to Asia During His Tour of the WorldAlejandro Munoz Garces


ปีที่ 33 ฉบับที่ 1
       
  ดูปก >>
ชื่อบทความ
ผู้แต่ง
1. คำสองพยางค์และคำซ้อนในภาษาไทย : การสืบหาความหมายจากภาษาจีนประพิณ มโนมัยวิบูลย์
2. สำนวนจีนในภาษาและวรรณคดีไทยอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล
3. ภาษาไทยกับการสัมผัสภาษาอังกฤษที่ปรากฎในพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์
4. อิทธิพลของภาษาอังกฤษในบทแปลภาษาไทยณัฐมา พงศ์ไพโรจน์ , ปรีมา มัลลิกะมาส
5. การแปลกับสมรรถนะในการแข่งขันระดับโลกปราณี กุลละวณิชย์
6. "บวช" : ที่มา ความหมาย และอิทธิพลบรรจบ บรรณรุจิ
7. ภาษาฝรั่งเศสในภาษาไทยแพรวโพยม บุณยะผลึก
8. ปัจจุบันกาลในบทละครเรื่อง La Demande d'emploi และ Les Travaux et les Jours ของมิเชล วินาแวร์ (Michel Vinaver)สุวรรณา สถาปัตย์พัฒนา
9. วิวัฒนาการของการยืมคำและการบัญญัติศัพท์ในสังคมไทยอมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์