English
Directory |  Link to  | Site Map  
  Home About Us Administration Academic Foreign Affairs Research and Publication Students
 
หน้าแรก >> วิจัย >> วารสารงของภาควิชา
 
 

วารสารภาษาและวรรณคดีไทย


ปีที่ 30 (ธันวาคม 2556)
ชื่อบทความ
กลวิธีความไม่สุภาพในรายการเรียลิตี้โชว์ภาษาไทยจันทิมา สว่างลาภ
จาก พระบาฬี สู่ สิลิษฐพขนคำสยาม: พระอัจฉริยภาพของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรในการแปล นันโทปนันทสูตรคำหลวงอัสนี พูลรักษ์
แบบเรื่องของเรื่องเล่าแนวเกศสุดา นาสีเคน
วัจนปฏิบัติศาสตร์แนวปลดปล่อยณัฐพร พานโพธิ์ทอง

ปีที่ 29 (ธันวาคม 2555)
ชื่อบทความ
“แคมฟร็อก”: พื้นที่ปฏิสัมพันธ์เรื่องเพศของชายและหญิงปาลิตา ผลประดับเพ็ชร์
ความเป็นชาย-ความเป็นหญิงในหนังสือวันเด็กแห่งชาติ: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์อุมาวัลย์ ชีช้าง
คำไทย – คำเทศใกล้รุ่ง อามระดิษ
ป้ายชื่อธุรกิจการค้าในย่านสยามสแควร์: การศึกษาตามแนวภูมิทัศน์เชิงภาษาศาสตร์กฤตพล วังภูสิต
ลักษณะเด่นและคุณค่าของภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องอิเหนาวัดโสมนัสวิหารธานีรัตน์ จัตุทะศรี
วัจนกรรมการทวงถามกับปัจจัยเรื่อง “บุญคุณ” ในสังคมไทยชาญวิทย์ เยาวฤทธา
สัจนิยมมหัศจรรย์ในเรื่องสั้น “มรณสักขี”: รัฐ ศาสนา ศรัทธา มายาคติหัตถกาญจน์ อารีศิลป

ปีที่ 28 (ธันวาคม 2554)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
กลวิธีเล่าเรื่องชาดกที่เน้นแนวคิดเรื่อง ทานในอรถถกถาชาดาและปัญญาสชาดก ฉบับหอสมุดแห่งชาติอภิลักษณ์ เกษมผลกูล
คติชนกับการสร้างความทรงจำร่วมเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรีพัชนียา บุนนาค
ความสัมพันธ์ทางการกในการสลับหน้าที่ระหว่างคำนามกับคำกริยาในภาษาไทยวรรณภา สรรพสิทธิ์
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับภาพตัวแทนของนักโทษประหารและการประหารชีวิตในหนังสือพิมพ์รายวันไทยธีระยุทธ สุริยะ
ติเพื่อก่อ กลวิธีการวิจารณ์ในรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวประไพพรรณ พึ่งฉิม
ผู้ชายมีระดับ: การสร้างคุณค่าเชิงสัญญะผ่านเรื่องเล่าโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิตยสารผู้ชายไทยวิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
สัมพันธกริยาสุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ, วิภาส โพธิแพทย์

ปีที่ 27 (ธันวาคม 2553)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตนเองโดยกลุ่มธีระ บุษบกแก้ว
กลวิธีทางภาษาในการนำเสนอความคิดเกี่ยวกับ "ไทย" และ"เขมร" ในวาทกรรมเหตุการณ์พิพาทเขาพระวิหาร พ.ศ. ๒๕๕๑ จากหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทยนิติพงศ์ พิเชฐพันธุ์
การศึกษาฉันทลักษณ์ในวิทยานิพนธ์ด้านวรรณคดีร้อยกรองของไทยช่วง พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๔๐วีรวัฒน์ อินทรพร
คำไทย-คำเทศใกล้รุ่ง อามระดิษ
มโนอุปลักษ์ความตายที่สะท้อนผ่านถ้อยคำอุปลักษณ์ในหนังสือธรรมะยมลภัทร ภัทรคุปต์
มโนอุปลักษณ์ชีวิตที่สะท้อนผ่านถ้อยคำอุปลักษณ์ในหนังสือแนะนำการดำเนินชีวิตสุรเชษฐ์ พิชิตพงศ์เผ่า
หนุมานในหนังสือการ์ตูนไทยปัจจุบันร.ท.หญิง พริมรตา จันทรโชติกุล

ปีที่ 26 (ธันวาคม 2552)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
"ชีวิต" คืออะไรในธรรมะ : มโนมัศน์เกี่ยวกับชีวิตที่สะท้อนผ่านถ้อยคำอุปลักษณ์ในหนังสือธรรมะปิยภรณ์ อบแพทย์
กลวิธีทางภาษาและบทบาทหน้าที่ของสมญานามในคอลัมน์ "บีบสิวหัวช้าง" ของซ้อเจ็ดสุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ
คำฉันท์ดุษฎีสังเวยสมัยรัตนโกสินทร์: คีตวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติ "ธรรมราชา"ชัยรัตน์ พลมุข
คำไทย-คำเทศใกล้รุ่ง อามระดิษ
ชื่อรุ่นจตุคามรามเทพ : การศึกษาในมุมมองภาษากับวัฒนธรรมพรสรัญ แสงปรีดีกรณ์
ภัทรราชาศิรวาทพีระ พนารัตน์
วาทกรรมโฆษณาในนิตยสารสำหรับครอบครัว : ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ความเป็นแม่ในสังคมไทยสุคนธรัตน์ สร้อยทองดี
อาหาร : มิติที่สัมพันธ์กับประเพณีสวดพระมาลัยปรมินท์ จารุวร

ปีที่ 25 (ธันวาคม 2551)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
"การเมือง คือ การรักษาโรค": มโนอุปลักษณ์ที่สะท้อนจากถ้อยคำอุปลักษณ์ของนักการเมืองไทยรัชนีย์ญา กลิ่นน้ำหอม, ณัฐพร พานโพธิ์ทอง
"นิราศจันทร์" ใช่เพลงยาวของสุนทรภู่แน่หรือสายวรุณ น้อยนิมิต
กาพย์ห่อโคลง - โคลงห่อกาพย์ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต
คำช่วยหน้ากริยา "ยัง" และคำบุพบท "ยัง" คำหลายหน้าที่ หรือ คำพ้องรูปพ้องเสียง?สุรีเนนตร จรัสจรุงเกียรติ
คำไทย - คำเทศใกล้รุ่ง อามระดิษ
ตัวละครจระเข้: ความสัมพันธ์กับประเภทของนิทานไทยพรรณราย ชาญหิรัญ
ตำนานและประเพณีการเซ่นไหว้วีรบุรุษไท "หนง จื้อเกา"ประคอง นิมมานเหมินท์
ทุคคตะสอนบุตรกับเศรษฐีสอนบุตร: สาระคำสอนและกลวิธีการสอนจาก "พ่อ" ถึง "ลูก"สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ
บทร้องในพิธีโอยปอถะ โอยไน่ตี๊: บทบาทในการสืบทอดวรรณกรรมนิทานจีนชุดยี่สิบสี่ยอดกตัญญูนรุตม์ คุปต์ธนโรจน์
ภาพตัวแทนของขบวนการนักศึกษา ๑๔ ตุลา ๑๖ ใน คู่กรรม ๒สิริวิทย์ สุขกันต์
อนุภาคการให้รางวัลที่เกี่ยวกับการทำทานในนิทานพื้นบ้านภาคเหนือ: ความสัมพันธ์กับพุทธศาสนาและวัฒนธรรมณีรนุช แมลงภู่

ปีที่ 24 (ธันวาคม 2550)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
(ไข) ข้อข้องใจในราชศัพท์ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์
กหังปายาพระสารประเสริฐ
กาพยสารวิลาสินีและกาพยคันถะ ตำราฉันทลักษณ์ไทยที่เขียนเป็นภาษาบาลีประคอง นิมมานเหมินท์
ความขัดแย้งทางค่านิยมที่ปรากฎในเรื่องสั้นไทย สมัยพัฒนาเศรษฐกิจ (พ.ศ.๒๔๙๓-๒๕๒๓)สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์
คำไทย-คำเทศ ใกล้รุ่ง อามระดิษ
จาก “เจ้าพ่ออ่างทองคำ” สู่ “คนชนชั้นธรรมดาที่กล้าแฉ”: กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ ในวาทกรรมการหาเสียงเลือกตั้งณัฐพร พานโพธิ์ทอง
นโลปาขยานัม พระนลคำหลวง และพระนลคำฉันท์วิสุทธ์ บุษยกุล
แบบการเสริมสร้อยในภาษาไทยและเขมรกาญจนา นาคสกุล
ปกิณกะในการอ่านวรรณคดีศิวะศรียานนท์
มหาราชาอาศิรวาทธานีรัตน์ จัตุทะศรี
เมื่อไม่สวดพระมาลัยในงานศพ: ความเปลี่ยนแปลงของการสวดพระมาลัยในสังคมไทยปรมินท์ จารุวร
รสแห่งกวีนิพนธ์พระยาอุปกิตศิลปสาร
เรื่อง "สยาม" หมายความว่ากระไรฦม.ร.ว.สุมนชาติ สวัสดิกุล
เรื่องนุ่งเสื้อห่มเสื้อเสฐียรโกเศศ
วิวัฒนาการของ "ร่าย" ในวรรณคดีไทยวัชรี รมยะนันทน์
วิวัฒนาการของกลอนบทละคอนคมคาย นิลประภัสสร
สุนทรียภาพของโคลงในวรรณคดีไทย:การสืบทอดและการสร้างสรรค์วีรวัฒน์ อินทรพร
ห นำอักษรเดี่ยวนววรรณ พันธุเมธา
อหังการแห่งกวีศักดิ์ศรี แย้มนัดดา
อักขรวิธีในศิลาจารึหลักที่ ๑ม.ล.จิรายุ นพวงศ์

ปีที่ 23 (ธันวาคม 2549)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการตักเตือนในภาษาไทย: กรณีศึกษาครูกับศิษย์สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์
กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทยโศรยา วิมลสถิตพงษ์
การตั้งชื่อพันธุ์ไม้มงคลในภาษาไทยวงเดือน คัยนันทน์
ปัญญาจากเต่ารื่นฤทัย สัจจพันธุ์
ปัญญาหญิงกับการกระชากหน้ากากตัวโกงในนิทานจักรๆ วงศ์ๆชลดา เรืองรักษ์ลิขิต
อารมณ์ขันในการ์ตูนการเมืองไทยศิริพร ภักดีผาสุข
อิเหนา: จากพระเอกในนิทานปันหยีสู่พระเอกในวรรณคดีไทยธานีรัตน์ จัตุทะศรี

ปีที่ 22 (ธันวาคม 2548)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
กลวิธีทางภาษาในการแสดงวัจนกรรมการกล่าวแย้งของนักเรียน เมื่อครูกล่าวผิดปวีณา วัชรสุวรรณ
กลอนเพลงยาวของคุณสุวรรณ: ภาคสะท้อนรักร่วมเพศ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นอิงอร สุพันธุ์วณิช
การศึกษาคำบอกเวลาในภาษาไทยถิ่นใต้มิ่งมิตร ศรีประสิทธิ์
การศึกษาเชิงปริจเฉทวิเคราะห์แบบทดสอบในนิตยสารไทยยาภา ลิ่วเจริญชัย
ผู้เสพกับการดัดแปลงเนื้อหาและตัวละครในภาพยนตร์ เรื่องพระอภัยมณีเปรม สวนสมุทร
ภาษาเด็กสองขวบกาญจนา นาคสกุล
อิทธิพลของงานสุนทรภู่ที่มีต่อนิทานวัดเกาะชลดา เรืองรักษ์ลิขิต

ปีที่ 21 (ธันวาคม 2547)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
บทความทั่วไป: ผ่องผิวผุดผาดเพื้ยงพราวพรรณ: อุดมคติความงามของผิดในวรรณคดีไทยอิงอร สุพันธุ์วณิช
บทความทั่วไป: พระราชดำรัส "แม่ของแผ่นดิน" สู่ความสุขสมบูรณ์ของอาณาประชาไทยสุนันท์ อัญชลีนุกูล
บทความวิจัย: ชักม้าชมเมือง: กวีนิพนธ์พุทธบูชาวรรณภา ชำนาญกิจ
บทความวิจัย: บทบาทของพระแม่เมืองกับความสุขของคนในครอบครัวและคนในบ้านเมืองชลดา เรืองรักษ์ลิขิต
บทความวิจัย: บทอาศิรวาทเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ: ภาพของพระราชินีในอุดมคติธานีรัตน์ จัตุทะศ
บทความวิจัย: มงคลหลากหลายในคำให้พรวันเกิดพรทิพย์ พุกผาสุข
บทความวิจัย: อุดมคติแห่งความสุขในสมัยสุโขทัย: ภาพสะท้อนจากจารึกอิงอร สุพันธุ์วณิช
บทความวิจัยจากวิทยานิพนธ์: สมบูรณ์ธรรมแห่งธรรมชาติกับสุนทรธรรมแห่งจิตวิญญาณในนิราศสมัยใหม่ของอังคาร กัลยาณพงศ์กับไพวรินทร์ ขาวงามณัฐกาญจน์ นาคนวล
ปกิณกะ (คำไทย-คำเทศ) : คำไทย-คำเขมรชลดา เรืองรักษ์ลิขิต
ปกิณกะ (คำไทย-คำเทศ) : คำไทย-คำบาลี สันสกฤตอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล

ปีที่ 20 (ธันวาคม 2546)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
ชาดกกับวรรณกรรมคำสอนของพระราชาสายวรุณ น้อยนิมิตร
ทศชาติชาดก: "ปัญญา" และ "ศรัทธา" สู่มรรคาแห่งความหลุดพ้นอาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล
ปริศนาคำทาย: ภูมิปัญญาทางภาษาและการผสมผสานทางวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ศิริพร ภักดีผาสุข
ปุจฉา-วิสัสัชนา: กลวิธีทางวรรณศิลป์ในมโหสถชาดกพิสิทธิ์ กอบบุญ
ระเด่นลันได: ภาพสะท้อนสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นอิงอร สุพันธุ์วณิช
ลักษณะเด่นด้านกลวิธีอธิบายในพระราชพิธีสิบสองเดือนธานีรัตน์ จัตุทะศรี
อัตลักษณ์ในกาพย์ฉบังของสุนทรภู่และที่มาของกาพย์ฉบังแบบสุนทรภู่ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต

ปีที่ 19 (ธันวาคม 2545)

ดูปก >>

ชื่อบทความ
"ชาติปิยานุศร": การสืบทอดและการสร้างสรรค์กลวิธีการเล่นล้อความระหว่างฉันทลักษณ์ต่างชนิดของ ชิต บุรทัตชลดา เรืองรักษ์ลิขิต
การศึกษาเปรียบเทียบเสียงพยัญชนะควบกล้ำในภาษาจ้วงอู่หมิงตามกลุ่มอายุผู้พูดฉิน ซิ่วหง
การศึกษาภาษาไทยสมัยรัชกาลที่5: แบบเรียนหลวงสุนันท์ อัญชลีนุกูล
คอลัมน์สังคมซุบซิบ คัทลียาจ๊ะจ๋า ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ (ตอนที่ 1)ณัฐพร พานโพธิ์ทอง
ชาวนาไทย: ภาพที่มองผ่านจากวรรณกรรมสุกัญญา สุจฉายา
แบบเรื่องนิทานสังข์ทอง: ความแพร่หลายและการแตกเรื่องวัชรภรณ์ ดิษฐป้าน
พระราชนิพนธ์กาพย์เห่เรือในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: การสืบทอดขนบและการสร้างสรรค์ลักษณะเด่นธานีรัตน์ จัตุทะศรี
พระอินทร์กับพิณ 3 สายกับการละทิ้งทุกกรกิริยาของพระโพธิสัตว์อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล
'อุตตมปรียา' ในพระราชนิพนธ์เงาะป่า: การรังสรรค์รักเป็นอุดมคติแห่งชีวติสุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา